คอเลสเตอรอลสูง ทำให้เกิดโรคหัวใจได้อย่างไร
ปกติภายในหลอดเลือดจะมีผิวเรียบลื่นสม่ำเสมอ แต่เมื่อมีคอเลสเตอรอลมาจับที่ผนังหลอดเลือดจนพอกหนาเป็นตะกรันไขมัน (Plague) การสะสมของตะกรันไขมันทำให้หลอดเลือดตีบลง ดังนั้น หัวใจจึงต้องทำงานหนักขึ้น เพื่อดันให้เลือดเคลื่อนที่ผ่านไปได้ ตะกรันไขมันสามารถขวางกั้นระบบไหลเวียนเลือดในหลอดเลือดใหญ่ที่ไปเลี้ยงหัวใจ หรือสมอง ทำให้อวัยวะขาดเลือด เกิดกล้ามเนื้อหัวใจวาย หรือหลอดเลือดในสมองตีบได้
ทำไม คอเลสเตอรอลสูง จึงเสี่ยงต่อสุขภาพ
คอเลสเตอรอลสูง สามารถนำไปสู่การเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ ในแต่ละีปีโรคหลอดเลือดหัวใจเป็นสาเหตุการตายอันดับต้นๆ ในประเทศไทย คือ ประมาณ 15 นาที ต่อคน
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็น โรคหัวใจ
|
|
|
บุหรี่ |
|
2. |
|
ความดัน |
|
|
|
ไขมัน (คอเลสเตอรอล) |
|
|
|
เบาหวาน |
|
|
|
อ้วนลงพุง |
|
6. |
|
ไตรกรีเซอร์ไรด์ |
|
7. |
|
เกลือ |
|
8. |
|
น้ำตาล |
|
9. |
|
ความเครียด |
|
10. |
|
การไม่ออกกำลังกาย |
ปริมาณคอเลสเตอรอลในอาหาร 100 กรัม
|
ชนิดของอาหาร
|
คอเลสเตอรอล (มล.) |
|
ชนิดของอาหาร
|
คอเลสเตอรอล (มล.) |
|
|
ไข่ปลา |
7300* |
|
ลูกวัว |
140 |
|
|
ไข่นกกระทา |
3640* |
|
จาระเม็ด |
126 |
|
|
สมองสัตว์ |
3160* |
|
เนื้อปนมัน |
126 |
|
|
ไข่แดง (ไก่) |
2000* |
|
กุ้งเล็ก |
125 |
|
|
ปลาหมึกใหญ่ |
1170* |
|
น้ำมันหมู |
110* |
|
|
ไข่แดง (เป็ด) |
1120* |
|
ซี่โครง |
110 |
|
|
ตับไก่ |
685-750* |
|
นกพิราบ |
110 |
|
|
ผ้าขี้ริ้ว |
610 |
|
ปู |
101-164 |
|
|
ไข่ทั้งฟอง |
550* |
|
แฮม |
100 |
|
|
น้ำมันตับปลา |
500* |
|
ไส้กรอก |
100 |
|
|
ตับวัว |
400* |
|
เนยแข็ง |
90-113 |
|
|
ตับหมู |
400* |
|
ปลาแซลมอน |
86 |
|
|
หัวใจหมู |
400* |
|
หมู เนื้อแดง |
60-70 |
|
|
ปลาหมึกเล็ก |
384 |
|
เนื้อวัว เนื้อล้วน |
60 |
|
|
ไต |
350 |
|
ปลาดุก |
60 |
|
|
ครีม |
300* |
|
ไก่ เนื้อล้วน |
60 |
|
|
กุ้งใหญ่ |
250-300 |
|
เนื้อกระต่าย |
60 |
|
|
เนยเหลว |
250 |
|
กระเพาะหมู |
50 |
|
|
หอยนางรม |
230-470 |
|
ไอศกรีม |
40 |
|
|
เบคอน |
215 |
|
แมงกะพรุน |
24 |
|
|
ปลาทูน่า |
186 |
|
นมสด |
24 |
|
|
ปลาไหลทะเล |
186 |
|
ปลิงทะเล |
0 |
|
|
หอยอื่นๆ |
150 |
|
ไข่ขาว |
0 |
|
|
เป็ด |
150 |
|
มาการีน |
0 |
|
|
กุนเชียง |
150 |
|
|
|
|
เราจะควบคุมให้ระดับไขมันในเลือดปกติได้อย่างไร
|
|
ควบคุมอาหาร |
|
|
1. |
หลีกเลี่ยงอาหารพวกไข่แดง เครื่องในสัตว์ เนื้อติดมัน สมองสัตว์ อาหารทะลบางชนิด |
|
|
2. |
หลีกเลี่ยงอาหารที่ปรุงด้วยน้ำมันที่มีไขมันอิ่มตัว เช่น เนย ควรใช้ไขมันไม่อิ่มตัว เช่น น้ำมันรำข้าว |
|
|
3. |
ดื่มนมชนิดพร่องมันเนย |
|
|
4. |
เปลี่ยนวิธีการปรุงอาหารเป็น นึ่ง ต้ม ย่าง อบ แทนการทอดหรือผัด |
|
|
5. |
รับประทานผัก และผลไม้ที่มีใยอาหาร เช่น คะน้า ผักกาด ส้ม ฝรั่ง |
|
|
ควบคุมน้ำหนักอย่าให้มากเกินไป |
|
|
ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ |
|
|
ตรวจเช็คร่างกาย และพบแพทย์ตามนัดทุกครั้ง |
|