ไขมันในเลือดประกอบด้วย
|
|
โคเลสเตอรอล |
|
|
ไตรกลีเซอร์ไรด์ |
|
|
เอ็ช ดี แอล โคเลสเตอรอล |
ไขมันชนิดที่ไม่ดีก่อให้เกิดโรค คือ
|
|
โคเลสเตอรอล |
|
|
ไตรกลีเซอร์ไรด์ |
ไขมันชนิดที่ดีต่อต้านการเกิดโรค คือ
|
|
เอ็ช ดี แอล โคเลสเตอรอล |
โรคแทรกซ้อนของระดับไขมันในเลือดสูง
|
1. |
โรคหัวใจขาดเลือด ทำให้มีอาการแน่นหน้าอก เวลาออกกำลังกาย |
|
|
อัมพาต แขนขาไม่มีแรงไปข้างใดข้างหนึ่ง เวียนศีรษะ บ้านหมุน |
|
3. |
เส้นเลือดไปเลี้ยงบริเวณขาไม่พอ ทำให้เวลาเดินแล้วปวดน่อง |
|
4. |
ตับอ่อนอักเสบ (ภาวะไตรกลีเซอร์ไรด์สูง) |
ระดับไขมันที่พึงประสงค์
ระดับไขมันที่ดี ที่ก่อให้เกิดโรคหัวใจได้น้อย คือ
|
|
ระดับโคเลสเตอรอลต่ำกว่า 200 มก./ดล. |
|
|
ระดับไตรกลีเซอร์ไรด์ต่ำกว่า 200 มก./ดล. |
|
|
ระดับเอ็ช ดี แอล โคเลสเตอรอล สูงกว่า 50 มก./ดล. |
|
|
อัตราส่วนโคเลสเตอรอล : เอ็ช ดี แอล ต่ำกว่า 4 |
วิธีควบคุมอาหาร
|
1. |
ลดจำนวนโคเลสเตอรอลในอาหาร ควรลดหรืองดอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูง ได้แก่ ไข่แดง หอยนางรม สมองหมู ปลาหมึก กุ้ง และเครื่องในสัตว์ โดยดูปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหาร |
ปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหารต่าง ๆ เป็นมิลลิกรัม/ปริมาณอาหาร 100 กรัม
|
|
มิลลิกรัม |
|
|
มิลลิกรัม |
ไข่ |
ไข่ไก่ทั้งฟอง |
427 |
อาหารทะเล |
หอยนางรม |
231 |
เครื่องใน |
ตับไก่ |
336 |
|
หอยแครง |
195 |
|
ตับหมู |
364 |
|
หอยแมลงภู่ |
148 |
|
ตับวัว |
218 |
|
กุ้งแชบ๊วย |
192 |
|
ไตหมู |
235 |
|
กุ้งกุลาดำ |
175 |
|
หัวใจหมู |
133 |
|
กุ้งนาง |
138 |
|
หัวใจวัว |
165 |
|
มันกุ้งนาง |
138 |
|
หัวใจไก่ |
157 |
|
มันปูทะเล |
361 |
|
ไส้ตันหมู |
140 |
|
ปูม้า |
90 |
เนื้อสัตว์ |
เนื้อวัว |
65 |
|
ปูทะเล |
87 |
|
เนื้อไก่ |
70 |
|
ปลาหมึกกระดองหัว |
405 |
|
น่องไก่ |
100 |
|
ปลาหมึกกระดองเนื้อ |
322 |
|
เนื้อเป็ด |
82 |
|
ปลาหมึกกล้วยหัว |
321 |
|
เนื้อห่านพะโล้ |
121 |
|
ปลาหมึกกล้วยเนื้อ |
251 |
|
เนื้อกบ |
47 |
เนย |
เนยเหลว |
186 |
|
ปลาดุก |
94 |
|
เนยแข็ง |
33 |
|
ปลาช่อน |
44 |
|
|
|
|
ปลากราย |
77 |
|
|
|
|
ปลากระบอก |
64 |
|
|
|
|
ปลาทู |
76 |
|
|
|
|
|
ควรงดอาหารที่มีโคเลสเตอรอลสูงมาก เช่นเกิน 100 มก./100 กรัม ในขณะเดียวกันอาหารที่มีโคเลสเตอรอลไม่สูงมากนัก แต่รับประทานจำนวนมาก จะทำให้โคเลสเตอรอลในอาหารต่อวันสูงเกินไป เช่น เนื้อวัว 3 ขีด มีโคเลสเตอรอลทั้งหมด 185 มก. ดังนั้นผู้ที่มีระดับไขมันสูง ควรลดปริมาณเนื้อสัตว์ในอาหารลงด้วย เพื่อลดปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหาร โดยผู้ป่วยสามารถคำนวณปริมาณโคเลสเตอรอลในอาหารได้เอง ให้อยู่ในเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 300 มก./วัน ในขั้นที่ 1 และ 200 มก./วัน ในขั้นที่ 2 |
|
|
|
|
|
ลดไขมันจากสัตว์ ได้แก่ มันสัตว์ เช่น หมูสามชั้น ข้าวมันไก่ ข้าวขาหมู เป็นต้น ถ้าจะรับประทาน หมู เนื้อ ควรเลาะมันออกให้หมด ถ้ารับประทานไก่ควรเอาหนังออกให้หมด |
|
3.
|
การรับประทานเนื้อสัตว์นั้น ถึงแม้ว่าจะเลาะหนัง และมันออกแล้วยังมีมันปนอยู่ในเนื้อสัตว์จำนวนมากน้อยต่างกัน ควรพิจารณาเลือกเนื้อสัตว์นั้นด้วย |
|
ปริมาณไขมัน |
เนื้อวัว เนื้อหม |
7.9-13.2% |
เนื้อไก่ |
5-7.4% |
ปลานึ่ง เนื้อขาว |
ต่ำกว่า 5% |
ปลาทะเล |
5-17% |
|
4. |
ดังนั้นจึงแนะนำให้รับประทาน เนื้อไก่ไม่ติดมันมากกว่าเนื้อวัว หรือเนื้อหมู ส่วนปลามีมากน้อยต่างกัน ปลาเนื้อขาวมีไขมันต่ำกว่า 5% |
|
5. |
งดอาหารจำพวกกะทิ เนื่องจากเป็นกรดไขมันอิ่มตัว |
|
6. |
เลือกใช้น้ำมันที่ถูกต้อง ควรใช้น้ำมันพืชที่ไม่ใช่น้ำมันมะพร้าว หรือน้ำมันปาล์ม |
|
7.
|
อาหารบางอย่างที่มีโคเลสเตอรอลต่ำ หรือไม่สูงมาก แต่มีปริมาณไขมันจำนวนมาก ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นโคเลสเตอรอลในร่างกาย เช่น ถั่ว หนังเปิด เนย เป็นต้น มีไขมันถึง 60-70% ควรหลีกเลี่ยงเช่นกัน |
|
ไขมัน |
โคเลสเตอรอล |
หนังไก่ |
32.4 |
109 |
เนยเทียม |
80.6 |
0 |
เนยแข็ง |
94 |
33 |
ถั่วลิสง |
71 |
0 |
นม |
3.3 |
14 |
|
8.
|
ไขมันจากปลาทะเล สามารถลดระดับไตรกลีเซอร์ไรด์ได้ ทำให้เกล็ดเลือดจับตัวน้อยลง และเส้นเลือดบีบตัวน้อยลง แต่มีผลต่อโคเลสเตอรอล และเอ็ช ดี แอล โคเลสเตอรอลไม่ชัดเจน |
|
|
อาหารที่มีไฟเบอร์ (เส้นใยอาหาร) สูง จะช่วยลดระดับโคเลสเตอรอล โดยจับกับน้ำดีที่มีโคเลสเตอรอลสูง ทำให้การดูดซึมลดลง อาหารที่มีไฟเบอร์สูง ได้แก่
|
แบ่งอาหารตามปริมาณไฟเบอร์ในอาหาร
ไฟเบอร์สูง
(มากกว่า 3 กรัม/อาหาร 100 กรัม) |
แอปเปิ้ล |
แพร์ |
ฝรั่ง |
ถั่วเขียว |
ข้าวโพดอ่อน |
แครอท |
ถั่วแระ |
อาหารซีรีล ชนิดแบรน |
ถั่วฝักยาว |
เม็ดแมงลัก |
ไฟเบอร์ปานกลาง
(1-3 กรัม/อาหาร 100 กรัม) |
ขนมปังโฮลวีที |
สปาเกตตี |
มะกะโรนี |
ข้างแดง (ซ้อมมือ) |
กะหล่ำปลี |
ข้าวโพดต้ม |
พุทรา |
น้อยหน่า |
ตะขบ |
|
ควรควบคุมปัจจัยอื่นที่ทำให้เกิดโรคหัวใจ เส้นเลือดแข็งตัวง่าย ได้แก่
|
1. |
สูบบุหรี่ |
|
|
ความดันโลหิตสูง |
|
3. |
เบาหวาน |
|
4. |
ความเครียด |
นอกจากนี้ ควรออกกำลังกายพอประมาณ เพื่อลดระดับโคเลสเตอรอล และเพิ่มระดับ เอ็ช ดี แอล โคเลสเตอรอล
|