5 ประการเพื่อการป้องกัน |
7 ประการเพื่อลดความเสี่ยง |
1. |
รับประทานอาหารผักตระกูลกะหล่ำให้มาก เช่น กะหล่ำปลี กะหล่ำดอก ผักคะน้า หัวผักกาด บล็อกโคลี่ ฯลฯ |
|
1. |
ไม่รับประทานอาหารที่มีราขึ้น |
|
เพื่อป้องกันโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ ลำไส้ส่วนปลาย กระเพาะอาหาร และอวัยวะระบบทางเดินหายใจ |
|
|
อาหารที่มีราขึ้น โดยเฉพาะราสีเขียว-เหลือง จะมีสารพิษอัลฟาทอกซินปนเปื้อน ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของ โรคมะเร็งตับ |
|
|
|
|
|
2. |
รับประทานอาหารที่มีกากมาก เช่น ผัก ผลไม้ ข้าว ข้าวโพด และเมล็ดธัญพืขอื่นๆ |
|
2. |
ลดอาหารไขมัน |
|
เพื่อป้องกันมะเร็งลำไส้ใหญ่ |
|
|
อาหารไขมันสูง จะทำให้เสี่ยงต่อการเป็น มะเร็งเต้านม ลำไส้ใหญ่ และต่อมลูกหมาก |
|
|
|
|
|
3. |
รับประทานอาหารที่มีเบต้า แคโรทีน และวิตามินเอสูง เช่น ผักสด ผลไม้สีเขียว เหลือง |
|
3. |
ลดอาหารดองเค็ม อาหารปิ้งย่าง รมควัน และอาหารที่ถนอมด้วยเกลือไนเตรต ไนไตรท์ |
|
เพื่อป้องกันมะเร็งหลอดอาหาร, กล่องเสียง และปอด |
|
|
อาหารเหล่านี้จะทำให้เสี่ยงต่อ มะเร็งหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลำไส้ใหญ่ |
|
|
|
|
|
4. |
รับประทานอาหารที่มีวิตามินซีสูง เช่น ผักสด ผลไม้ต่างๆ |
|
4. |
ไม่รับประทานอาหารดิบๆ สุกๆ |
|
เพื่อป้องกันมะเร็งหลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร |
|
|
อาหารประเภทนี้ เช่น ก้อยปลา ปลาจ่อม ฯลฯ จะทำให้เป็นโรคพยาธิใบไม้ในตับ และเสี่ยงต่อการเป็น มะเร็งของท่อน้ำดีในตับ |
|
|
|
|
|
5. |
ควบคุมน้ำหนัก
|
|
5. |
หยุดหรือลดการสูบบุหรี่
|
|
โรคอ้วนมีความสัมพันธ์กับมะเร็งมดลูก ถุงน้ำดี เต้านม และลำไส้ใหญ่
การออกกำลังกาย และการลดการรับประทานอาหารที่ทำให้พลังงานสูง ก็จะช่วยป้องกันมะเร็งเหล่านี้ได้ |
|
|
สูบบุหรี่จะทำให้เสี่ยงต่อการเป็น มะเร็งช่องปาก และคอ |
|
|
|
|
|
|
|
|
6. |
ลดการดื่มแอลกอฮอล์
ดื่มแอลกอฮอล์จะเสี่ยงต่อการเป็น มะเร็ง
ถ้าทั้งดื่มทั้งสูบบุหรี่ จะเสี่ยงต่อการเป็น มะเร็งช่องปาก ช่องคอ กล่องเสียง และหลอดอาหาร |
|
|
|
|
|
|
|
|
7. |
อย่าตากแดดจัด
ตากแดดจัดมากเกินไปจะเสี่ยงต่อการเกิด มะเร็งผิวหนัง |